วัน อังคาร ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556
ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจาก หยุดเทศกาลปีใหม่
วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 8
วัน อังคาร ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2555
ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากสอบกลางภาค
ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากสอบกลางภาค
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 7
วัน อังคาร ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2555
ไม่มีการเรียนการสอนอาจารย์ติดภาระกิจกีฬาสีคณะครู
งานที่ได้รับมอบหมาย
ประดิษฐ์แกนกระดาษทิสชู่
ไม่มีการเรียนการสอนอาจารย์ติดภาระกิจกีฬาสีคณะครู
งานที่ได้รับมอบหมาย
ประดิษฐ์แกนกระดาษทิสชู่
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 6
วัน อังคาร ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2555
ให้น.ศ.เอากล่องมาแบบใดก็ได้
- อาจารย์ถามว่าเห็นกล้องแล้วนึกถึงอะไร
ตอบ - รูปทรง
- กล่องใส่ของ เป็นต้น
อยากให้กล่องเหล่านี้เป็นอะไร ?
ตอบ - รถไฟ - กล่องใส่ความสุข - ตึก
นอกจากใส่ของแล้วใส่อะไรได้อีกบ้าง ?
ตอบ - รถของเล่น - พัด
- หมวก - กระเป๋า
คล้องแผนประกอบการสอน
- ใกล้ตัวเด็ก
- มีความสัมพันธ์กับเด็ก
- เด็กสนใจ
- มีผลกระทบ
- เชื่อมไปสู่สาระอื่น
กล่องกับคณิตศาสตร์
- ขนาด
- ปริมาณ ความจุ
- น้ำหนัก
ให้น.ศ.เอากล่องมาแบบใดก็ได้
- อาจารย์ถามว่าเห็นกล้องแล้วนึกถึงอะไร
ตอบ - รูปทรง
- กล่องใส่ของ เป็นต้น
อยากให้กล่องเหล่านี้เป็นอะไร ?
ตอบ - รถไฟ - กล่องใส่ความสุข - ตึก
นอกจากใส่ของแล้วใส่อะไรได้อีกบ้าง ?
ตอบ - รถของเล่น - พัด
- หมวก - กระเป๋า
คล้องแผนประกอบการสอน
- ใกล้ตัวเด็ก
- มีความสัมพันธ์กับเด็ก
- เด็กสนใจ
- มีผลกระทบ
- เชื่อมไปสู่สาระอื่น
กล่องกับคณิตศาสตร์
- ขนาด
- ปริมาณ ความจุ
- น้ำหนัก
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 5
วัน อังคาร ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2555
- พูดเรื่องการเข้ากิจกรรม
- ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอความเรียง
ให้เด็กๆนับจำนวนชิ้นของขนมที่อยู๋ในถาดแล้วเด็กๆ นำตัวเลขฮินดูอารบิกมาติดที่ถาดขนมให้ตรงกับจำนวนชิ้น เด็กๆลองจัดลำดับจากขนมชิ้นเล็กกับชิ้นใหญ่แล้วทำขนมมาเทียบชิ้นไหนเล็กชิ้นไหนใหญ่กว่ากัน จากนั้นให้เด็กๆ หยิบขนมรูปทรงสี่เหลี่ยม จัตุรัส จับคู่ กับขนมที่มีรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส แล้ววันนี้คุณครูมีกิจกรรม Cooking มาให้ทำวุ้น แล้วให้เด็กๆจัดอุปกรณ์ เซต ในการทำวุ้นและเทลงไปในถาดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่ครูเตรียมไว้ให้ เมื่อวุ้นแข็งตัวให้เด็กๆ ตกแต่งลวดลายลงบนวุ้นที่อยู่ในถาดและให้เด็กๆลองแบ่งวุ้นเด็กๆจะแบ่งอย่างไร ให้จำนวนชิ้นของวุ้นให้เท่ากับจำนวนเพื่อนในห้อง
- สอนการเขียนแผน
- พูดเรื่องการเข้ากิจกรรม
- ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอความเรียง
ให้เด็กๆนับจำนวนชิ้นของขนมที่อยู๋ในถาดแล้วเด็กๆ นำตัวเลขฮินดูอารบิกมาติดที่ถาดขนมให้ตรงกับจำนวนชิ้น เด็กๆลองจัดลำดับจากขนมชิ้นเล็กกับชิ้นใหญ่แล้วทำขนมมาเทียบชิ้นไหนเล็กชิ้นไหนใหญ่กว่ากัน จากนั้นให้เด็กๆ หยิบขนมรูปทรงสี่เหลี่ยม จัตุรัส จับคู่ กับขนมที่มีรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส แล้ววันนี้คุณครูมีกิจกรรม Cooking มาให้ทำวุ้น แล้วให้เด็กๆจัดอุปกรณ์ เซต ในการทำวุ้นและเทลงไปในถาดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่ครูเตรียมไว้ให้ เมื่อวุ้นแข็งตัวให้เด็กๆ ตกแต่งลวดลายลงบนวุ้นที่อยู่ในถาดและให้เด็กๆลองแบ่งวุ้นเด็กๆจะแบ่งอย่างไร ให้จำนวนชิ้นของวุ้นให้เท่ากับจำนวนเพื่อนในห้อง
- สอนการเขียนแผน
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 4
วัน อังคาร ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ.2555
นำเสนอMind Map ของกลุ่ม
เขียน Mind Map ใหม่โดยเพิ่มเติมจากของเดิม ที่ยังบกพร่องในกลุ่มของตัวเอง
แผนเรื่อง ขนมไทย เพิ่มหัวข้อใหม่ (พื้นผิว)
เขียนแบบตามขอบข่ายคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
การนับ = การนับจำนวนชิ้นของขนมต่อราคาที่ขาย
= ให้เด็กๆนับจำนวนขนมที่อยู่ในถาด
ตัวเลข = จำนวนชิ้นของขนมแต่ละชนิด
= ให้เด็กๆนำเลขฮินดูอารบิคไปติดที่ถาดขนมที่ตรงตามจำนวนขนม
จับคู่ = จับคู่สีของขนมที่มีสีเหมือนกัน
= ให้เด็กจับคู่ขนมที่มีรูปทรงเหมือนกัน
การจัดประเภท = นำขนมไทยแต่ละชนิดมารวมกันโดยใช้ขนมไทยแบบแห้งและแบบน้ำ
= ให้เด็กๆแยกขนมที่นิ่มวางใส่ในถาด
การเปรียบเทียบ = ลักษณะพื้นผิวของขนม นิ่ม แข็ง
= จัดประเภทแล้วนำมาเปรียบเทียบชิ้นไหนเล็กชิ้นไหนใหญ่
การจัดลำดับ = การจัดลำดับจากขนมขนาดเล็กไปหาขนาดใหญ่
= ให้เด็กๆจัดลำดับจากขนมชิ้นเล็กไปหาชิ้นใหญ่
รูปทรงและเนื้อที่ = รูปทรงของขนมแต่ละชนิดแตกต่างกัน
= ให้เด็กๆหยิบขนม ที่มีรูปทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
= เด็กๆดูสิค่ะถาดใบนี้จะใส่ขนมได้กี่ชิ้น
= ถาดที่หนึ่งกับถาดที่สอง ถาดไหนใส่ขนมได้เยอะกว่ากัน
การวัด = ขนมชั้นกับเม็ดขนุนชิ้นไหนหนักกว่ากัน
= ชิ้นไหนเบากว่าหนักกว่า
เซต = อุปกรณ์ในการทำขนม
= เซตของส่วนผสมการทำขนม
ทำตามแบบหรือลวดลาย = การตกแต่งขนมให้เป็นลวดลายอิสระ
= การตกแต่งลวดลาย
เศษส่วน = การผสมส่วนประกอบของการทำขนม
= ขนม1ชิ้น แบ่งครึ่งให้เท่ากันเป็น 2 ชิ้น
= มีขนมอยู่ 1 ชิ้นใหญ่ ให้เด็กๆแบ่งเป็น 4 ชิ้นเท่าๆกันเด็ก 1 คนเอาไป 1 ชิ้น
เด็ก 4 คนขนม 4ชิ้น รวมกันเป็น 1 ชิ้นใหญ่
การอนุรักษ์ = ฝึกเรียนรู้ทำขนมไทย
= การทำวุ้นในพิมรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมในปริมาณที่เท่ากัน
เขียนร้อยเรียงจากอันเดิม เพิ่มเติมส่งอาทิตย์หน้า
นำเสนอMind Map ของกลุ่ม
เขียน Mind Map ใหม่โดยเพิ่มเติมจากของเดิม ที่ยังบกพร่องในกลุ่มของตัวเอง
แผนเรื่อง ขนมไทย เพิ่มหัวข้อใหม่ (พื้นผิว)
เขียนแบบตามขอบข่ายคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
การนับ = การนับจำนวนชิ้นของขนมต่อราคาที่ขาย
= ให้เด็กๆนับจำนวนขนมที่อยู่ในถาด
ตัวเลข = จำนวนชิ้นของขนมแต่ละชนิด
= ให้เด็กๆนำเลขฮินดูอารบิคไปติดที่ถาดขนมที่ตรงตามจำนวนขนม
จับคู่ = จับคู่สีของขนมที่มีสีเหมือนกัน
= ให้เด็กจับคู่ขนมที่มีรูปทรงเหมือนกัน
การจัดประเภท = นำขนมไทยแต่ละชนิดมารวมกันโดยใช้ขนมไทยแบบแห้งและแบบน้ำ
= ให้เด็กๆแยกขนมที่นิ่มวางใส่ในถาด
การเปรียบเทียบ = ลักษณะพื้นผิวของขนม นิ่ม แข็ง
= จัดประเภทแล้วนำมาเปรียบเทียบชิ้นไหนเล็กชิ้นไหนใหญ่
การจัดลำดับ = การจัดลำดับจากขนมขนาดเล็กไปหาขนาดใหญ่
= ให้เด็กๆจัดลำดับจากขนมชิ้นเล็กไปหาชิ้นใหญ่
รูปทรงและเนื้อที่ = รูปทรงของขนมแต่ละชนิดแตกต่างกัน
= ให้เด็กๆหยิบขนม ที่มีรูปทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
= เด็กๆดูสิค่ะถาดใบนี้จะใส่ขนมได้กี่ชิ้น
= ถาดที่หนึ่งกับถาดที่สอง ถาดไหนใส่ขนมได้เยอะกว่ากัน
การวัด = ขนมชั้นกับเม็ดขนุนชิ้นไหนหนักกว่ากัน
= ชิ้นไหนเบากว่าหนักกว่า
เซต = อุปกรณ์ในการทำขนม
= เซตของส่วนผสมการทำขนม
ทำตามแบบหรือลวดลาย = การตกแต่งขนมให้เป็นลวดลายอิสระ
= การตกแต่งลวดลาย
เศษส่วน = การผสมส่วนประกอบของการทำขนม
= ขนม1ชิ้น แบ่งครึ่งให้เท่ากันเป็น 2 ชิ้น
= มีขนมอยู่ 1 ชิ้นใหญ่ ให้เด็กๆแบ่งเป็น 4 ชิ้นเท่าๆกันเด็ก 1 คนเอาไป 1 ชิ้น
เด็ก 4 คนขนม 4ชิ้น รวมกันเป็น 1 ชิ้นใหญ่
การอนุรักษ์ = ฝึกเรียนรู้ทำขนมไทย
= การทำวุ้นในพิมรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมในปริมาณที่เท่ากัน
เขียนร้อยเรียงจากอันเดิม เพิ่มเติมส่งอาทิตย์หน้า
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 3
วัน อังคาร ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.2555
- แยกหน่วยที่นักศึกษาเลือกที่จะสอน ออกเป็น Mind Map
แยกจากหัวข้อใหญ่ ออกเป็นข้อย่อย
เช่น เรื่องขนมไทย
-ชื่อ
-ลักษณะ ประเภทของขนมไทย
-ประโยชน์
-ขนาด
-สี
-กลิ่น
-ส่วนประกอบ
- แยกหน่วยที่นักศึกษาเลือกที่จะสอน ออกเป็น Mind Map
แยกจากหัวข้อใหญ่ ออกเป็นข้อย่อย
เช่น เรื่องขนมไทย
-ชื่อ
-ลักษณะ ประเภทของขนมไทย
-ประโยชน์
-ขนาด
-สี
-กลิ่น
-ส่วนประกอบ
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
นิตยา ประพฤติกิจ 2541:17-19
1.การนับ(Counting)
2.ตัวเลข(Number)
3.การจับคู่(Matching)
4.การจัดประเภท(classification)
5.การเปรียบเทียบ(Comparing)
6.การจัดลำดับ(Ordering)
7.รูปทรงและเนื้อที่(Shape and Space)
8.การวัด(Measurement)
9.เซต
10.เศษส่วน
11.การทำตามแบบหรือลวดลาย
12.การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)